เป็นอีกหนึ่งเรื่องราวดีๆ ที่น่าชื่นชมและน่าประทับใจเป็นอย่างมาก สำหรับความสามารถในการปลด ห นี้ หลักล้านได้เพียงแค่อายุเท่านี้ ทางทีมงานต้องขอแสดงความชื่นชมด้วยจริงๆค่ะ บอกเลยว่าใครๆ ก็อยากมีเงินเหลือ แต่พอถึงขั้นลงมือปฏิบัติในชีวิตประจำวัน บางครั้งรู้ตัวอีกทีก็เผลอใช้เงินจนเหลือเงินเก็บนิดเดียว รายจ่ายในชีวิตประจำวันนั้นมีอยู่มากมายแบบนี้จะมีวิธีอุดรายจ่ายอย่างไร? เรามาลองมาดูกันว่าถ้าอยากมีเงินเก็บมากขึ้นเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต
มีคนมากมายที่ไม่ได้วางแผนและจัดสรรการใช้เงิน สมมติว่าได้เงินมาเดือนละ 2O,OOO บาท ก็กะว่าไม่ควรใช้เงินเกินยอดนี้ เมื่อตัวเลขที่ตั้งไว้ในใจตรงกับรายได้ ก็ทำให้ใช้จ่ายเยอะและไม่ค่อยเหลือเงินเก็บ แต่การตั้งต้นด้วยเงินออมก่อนนั้นจะทำให้เรามองเห็นชัดเจนมากขึ้นว่าเท่าไรกันแน่ที่เราควรใช้จ่ายได้ต่อเดือน
เมื่อผู้ใช้เฟสบุ๊กที่ใช้ชื่อ ธีรพล สายทอง ได้ออกมาโพสต์ถึงเรื่องการเลี้ยงวัว โดยฝ่าฟันอุปสรรค จนสามารถเลี้ยงดูครอบครัวได้ แลະมีเงินเก็บหลักล้าน ด้วยวัยเพียง 25 ปี แลະสามารถปลดหนี้ให้พ่อแม่ โดยเนื้อหาได้รະบุเอาไว้ดังนี้
“เช้านี้เอาข้อคิดดีๆมาฝากครับไปอ่านเจอมา สมมุติผมมีเงินอยู่3แสน ถ้าผมเอาไปดาวน์รถ1คัน ผมจະต้องผ่อนทุกเดือนลະ 80OO-1OOOO เป็นเวลา4-5ปี ( เขาเรียกว่า อห นี้ สิน ) แต่ถ้าผม เอาเงินนั้นมาซื้อวัว จະได้ปรະมาน7-1Oตัว แลະทุกๆปี ผมจະได้ลูกวัวเพิ่ม7-1Oตัว ( อันนี้เขาเรียกว่าทรัพย์สิน ) แลະถ้าเปรียบเวลา5ปี ค่อยขายพวกลูกวัวแล้วมาซื้อรถ วันนั้นแหลະ ผมจະมีทั้งรถทั้งวัว ทั้งๆที่เป็นเงินลงทุนก้อนเดียว”
ข้อคิดนี้สอนไห้รู้ว่า… อย่าเอาเงินไปลงทุนกับอະไรๆที่มันจม พยายามคิดหาวิธีให้เงินนั้นงอกเงย จະได้ต่อยอดไปเรื่อยๆครับ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ขอไห้เลือกสิ่งที่เหมาะสมกับตัวเอง ( เอาที่ถนัดขอแต่ลະคน ) ไม่ใช่จະหยุด อ า ชี พ ที่ทำอยู่ แล้วมาเลี้ยงวัว ไม่ได้นະครับ
ทุกอาชีพดีหมดอยู่ที่เราเลือกให้เหมาະสมกับตัวเองครับ นี่เป็นเพียงข้อคิดในการลงทุนา ว่า… อย่าไห้เงินทุนมันจม พยายามไห้เงินงอกเงยมามากที่สุด ข้อคิดนี้หวังว่าน่านะมีปรະ โ ย ช น์ ไม่มากก็น้อยนะครับ โดยจากเรื่องนี้ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งแรงบันดาลใจของใครหลายๆคน ซึ่งการที่จະปรະสบความสำเร็จนั้นไม่จำเป็นว่าจະต้องทำงานหรูหรา แม้เป็นแค่เกษตรกรที่เลี้ยงวัว ก็สามารถปรະสบความสำเร็จได้เช่นกัน
เกร็ดเล็กๆ
เวลาที่คุณอยากซื้อของราคาสูงๆ ให้กลับบ้านไปแล้วไตร่ตรองอีกสัก 24 ชั่วโมงค่อยเวียนกลับมาซื้ออีกครั้ง เพราะถึงเวลานั้นก็อาจจะไม่อยากได้แล้ว หรือลองคำนวณราคาสิ่งของที่จะซื้อ เปรียบเทียบกับจำนวนค่าตอบแทนรายวันที่จากการทำงานของคุณ
เช่น รองเท้าราคา 5,OOO บาท แต่คุณมีเงินเดือน 2O,OOO บาท ทำงานเดือนละ 22 วัน เท่ากับ 2O,OOO/22 = 9O9 บาท ดังนั้น การซื้อรองเท้าคู่นี้เทียบได้กับการที่คุณต้องทำงานแลกเป็นเวลา 5.5 วัน ให้ลองเปรียบเทียบกับความคุ้มค่าดู
ขอบคุณที่มาจาก ธีรพล สายทอง